แนวข้อสอบวิชาความรู้ และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี

แนวข้อสอบวิชาความรู้ คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 90 หรือ 45 ข้อขึ้นไป
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 77 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. สำนักงานปลัดกระทรวง มีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
    ก. ราชการทั่วไปของกระทรวง
    ข. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี
    ค. มีอำนาจเกี่ยวกับราชการทางการเมือง
    ง. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ
2. ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
    ก. มีอำนาจเกี่ยวกับราชการทางการเมือง
    ข. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี
    ค. กำกับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน
    ง. ราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์
3. แผนพัฒนาจังหวัดต้องสอดคล้องกับข้อใด
    ก. ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
    ข. แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ
    ค. ยุทธศาสตร์ภาครัฐ
    ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
4. การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือน ต้องคำนึงถึงข้อใด
    ก. มาตรฐานและประสบการณ์
    ข. ความรับผิดชอบและภาระงาน
    ค. คุณภาพและประสบการณ์
    ง. คุณภาพและปริมาณงาน
5. ผู้ใดทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัด
    ก. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
    ข. ปลัดจังหวัด
    ค. คณะกรมการจังหวัด
    ง. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
6. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคแบ่งออกเป็นอย่างใด
    ก. จังหวัด อำเภอ
    ข. จังหวัด อำเภอ เทศบาล
    ค. จังหวัด อำเภอ เทศบาล กรุงเทพมหานคร
    ง. จังหวัด อำเภอ เทศบาล กรุงเพทมหานคร เมืองพัทยา
7. ผู้ใดคือประธาน ก.ธ.จ.
    ก. นายกรัฐมนตรี
    ข. รองนายกรัฐมนตรี
    ค. ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
    ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
8. ข้อใดเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
    ก. เลขานุการรัฐมนตรี
    ข. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
    ค. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
    ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
9. ส่วนราชการที่ไม่ได้อยู่ในสังกัดสำนักนายยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ยกเว้นข้อใด
    ก. สำนักพระราชวัง
    ข. สำนักงานพระพุทธศาสนา
    ค. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    ง. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
10. ข้อใดไม่ใช่นิติบุคคล
    ก. สำนักงานรัฐมนตรี
    ข. กระทรวง
    ค. ทบวง
    ง. กรม
11. ใครเป็นผู้มีอำนาจตีความวินิจฉัยปัญหา ที่เกิดจากการบังคับใช้ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
    ก. นายยกรัฐมนตรี
    ข. คณะกรรมการจังหวัด
    ค. คณะกรรมการธรรมภิบาลจังหวัด
    ง. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
12. ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
    ก. มีอำนาจเกี่ยวกับราชการทางการเมือง
    ข. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี
    ค. กำกับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน
    ง. ราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์
13. การจัดตั้ง รวม โอน ส่วนราชการ ได้แก่ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม (ส่วนกลาง) ให้ตรากฎหมายใด
    ก. พระราชบัญญัติ
    ข. พระราชกฤษฎีกา
    ค. กฎกระทรวง
    ง. ประกาศกระทรวง
14. การตั้ง ยุบ เปลี่ยนเขตจังหวัดให้ตรากฎหมายใด
    ก. พระราชบัญญัติ
    ข. พระราชกฤษฎีกา
    ค. กฎกระทรวง
    ง. ประกาศกระทรวง
15. การจัดสรรงบประมาณ การบรรจุ และแต่งตั้ง บุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึง ยกเว้นข้อใด
    ก. ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ
    ข. ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
    ค. การอำนวยความสะดวก ตอบสนองความต้องการของประชาชน
    ง. การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน
16. การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องคำนึงถึง ยกเว้นข้อใด
    ก. การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน
    ข. การเปิดเผยข้อมูล
    ค. คุณภาพและปริมาณงาน
    ง. การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน
17. สำนักงานอำเภอมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอำเภอนั้น ๆ โดยมีผู้ใดเป็นผู้บังคับบัญชา
    ก. นายอำเภอ
    ข. ปลัดอำเภอ
    ค. หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอผู้มีความอาวุโส
    ง. หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด
18. ข้อใดคือผู้เสนอชื่อแต่งตั้งอธิบดีกรม
    ก. นายกรัฐมนตรี
    ข. คณะรัฐมนตรี
    ค. รัฐมนตรี
    ง. ปลัดกระทรวง
19. นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
    ก. มีอำนาจเกี่ยวกับราชการทางการเมือง
    ข. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี
    ค. กำกับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน
    ง. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ
20. ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ และมีรองนายกรัฐมนตรีหลายคน ผู้ใดเป็นผู้รักษาราชการแทน
    ก. รองนายกรัฐมนตรี มอบหมายรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
    ข. รองนายกรัฐมนตรี มอบหมายคณะรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
    ค. คณะรัฐมนตรี มอบหมายรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
    ง. คณะรัฐมนตรี มอบหมายรองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
21. นายกรัฐมนตรีผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่เท่าใด
    ก. คนที่ 16
    ข. คนที่ 17
    ค. คนที่ 18
    ง. คนที่ 19
22. ในกรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งผู้ใดเป็นผู้รักษาราชการแทน
    ก. รองผู้ว่าราชการจังหวัด
    ข. ปลัดจังหวัด
    ค. หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด
    ง. ปลัดอำเภอ หรือหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอผู้มีความอาวุโส
23. ใครเป็นผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2553
    ก. นายสมัคร สุนทรเวช
    ข. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
    ค. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
    ง. นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
24. ข้อใดคือกระทรวงที่จัดตั้งขึ้นล่าสุดในประเทศไทย
    ก. กระทรวงศึกษาธิการ
    ข. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    ค. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
    ง. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
25. การจัดตั้งกระทรวงใหม่ให้ตรากฎหมายใด
    ก. พระราชบัญญัติ
    ข. พระราชกฤษฎีกา
    ค. กฎกระทรวง
    ง. ประกาศกระทรวง
26. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2553 ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของผู้ใด
    ก. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
    ข. รัฐสภา
    ค. คณะรัฐมนตรี
    ง. นายกรัฐมนตรี
27. ข้อใดไม่ใช่นิติบุคคล
    ก. จังหวัด
    ข. อำเภอ
    ค. สำนักนายกรัฐมนตรี
    ง. กระทรวง
28. ในปัจจุบันประเทศไทยมีกี่จังหวัด
    ก. 75 จังหวัด
    ข. 76 จังหวัด
    ค. 77 จังหวัด
    ง. 78 จังหวัด
29. ในกรณีที่นายกไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ ผู้ใดเป็นผู้รักษาราชการแทน
    ก. อธิบดีกรม
    ข. รัฐมนตรี
    ค. รองนายกรัฐมนตรี
    ง. คณะรัฐมนตรี
30. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
    ก. 13 พฤษภาคม พ.ศ.2534
    ข. 14 พฤษภาคม พ.ศ.2534
    ค. 4 กันยายน พ.ศ.2534
    ง. 5 กันยายน พ.ศ.2534
31. ข้อใดเป็นการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
    ก. จังหวัด อำเภอ
    ข. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล
    ค. สำนักรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
    ง. สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม
32. นายอำเภอสังกัดกระทรวงใด
    ก. กระทรวงคมนาคม
    ข. กระทรวงมหาดไทย
    ค. กระทรวงกลาโหม
    ง. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
33. ข้อใดเป็นข้าราชการการเมือง
    ก. ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
    ข. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
    ค. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
    ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
34. ใครคือผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี
    ก. ปลัดกระทรวง , รัฐมนตรี
    ข. คณะรัฐมนตรี , ปลัดกระทรวง
    ค. รองนายยกรัฐมนตรี , รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
    ค. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี , รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
35. ข้อใดคือเป้าหมายสำคัญที่สุด ในการบริหารราชการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534
    ก. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
    ข. ลดการปฏิบัติงาน
    ค. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ
    ง. เพื่อกระจายภารกิจและทรัพยากร
36. ข้อใดกล่าวถึงการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยได้ถูกต้องที่สุด
    ก. 3 ส่วน ส่วนรวม ส่วนกลาง ส่วนท้องถิ่น
    ข. 3 ส่วน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น
    ค. 3 ส่วน ส่วนกลาง ส่วนปกครอง ส่วนภูมิภาค
    ง. 3 ส่วน ส่วนรวม ส่วนภูมิภาค ส่วนปกครองท้องที่
37. การมอบอำนาจให้ไปปฏิบัติราชการแทนผู้มอบต้องทำตามข้อใด
    ก. ทำเป็นหนังสือ
    ข. มอบด้วยวาจา
    ค. มอบด้วยวาจา หรือทำเป็นหนังสือ
    ง. ตามความเหมาะสมแล้วแต่กรณี
38. ข้อใดไม่ได้มีฐานะเป็นกรม
    ก. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    ข. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
    ค. สำนักงานรัฐมนตรี
    ง. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
39. ผู้ใดคือกรรมการและเลขานุการคณะกรมการจังหวัด
    ก. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
    ข. หัวหน้าสำนักงานจังหวัด
    ค. รองผู้ว่าราชการจังหวัด
    ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
40. ปัจจุบันประเทศไทยมีกี่กระทรวง
    ก. 18 กระทรวง
    ข. 19 กระทรวง
    ค. 20 กระทรวง
    ง. 21 กระทรวง
41. ข้อใดเป็นการบริหารส่วนท้องถิ่น รูปแบบพิเศษทั้งหมด ตามที่กฎหมายกำหนด
    ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด , เทศบาล
    ข. เมืองพัทยา , องค์การบริหารส่วนจังหวัด
    ค. กรุงเทพมหานครฯ , เมืองพัทยา
    ง. องค์การบริหารส่วนตำบล , เทศบาลตำบล
42. สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นส่วนราชการที่มีฐานนะเทียบเท่าส่วนราชการใด
    ก. กรมป่าไม้
    ข. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    ค. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
    ง. สำนักงานข้าราชการพลเรือน
43. ข้อใดคือ กรรมการและเลขานุการ ก.พ.ร.
    ก. เลขาธิการ ก.พ.ร.
    ข. เลขานุการ ก.พ.ร.
    ค. เลขาธิการกฤษฎีกา
    ง. เลขาธิการกฤษฎีกา
44. การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามกฎหมายใด
    ก. พระราชกำหนด
    ข. พระราชกฤษฎีกา
    ค. พระราชบัญญัติ
    ง. กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
45. การ รวม โอน ส่วนราชการ กรณีไม่มีกำหนดตำแหน่งหรืออัตราเพิ่มขึ้น ให้ตรากฎหมายใด
    ก. พระราชบัญญัติ
    ข. พระราชกฤษฎีกา
    ค. กฎกระทรวง
    ง.ประกาศกระทรวง
46. ผู้จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด คือ
    ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
    ข. เทศบาล
    ค. จังหวัด
    ง. คณะกรมการจังหวัด
47. ข้อใดกล่าวถึงการบริหารราชการในภูมิภาคได้ถูกต้อง
    ก. การรวมอำนาจ (Centralization)
    ข. การแบ่งอำนาจ (Deconcentration)
    ค. การกระจายอำนาจ (Decentralization)
    ง. การยึดอำนาจ (Revolution)
48. สำนักนายกรัฐมนตรีมีผู้ใดเป็นผู้บังคับบัญชา
    ก. นายกรัฐมนตรี
    ข. รัฐมนตรี
    ค. คณะรัฐมนตรี
    ง. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
49. ข้อใด ไม่ใช่ ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
    ก. สำนักงบประมาณ
    ข. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
    ค. สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
    ง. สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
50. การยุบกระทรวงให้ตรากฎหมายใด
    ก. พระราชบัญญัติ
    ข. พระราชกฤษฎีกา
    ค. กฎกระทรวง
    ง.ประกาศกระทรวง
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ

1. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1


2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน


3. แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล


4. ข้อสอบ บรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอก ปฐมวัย พร้อมเฉลย 50 ข้อ


นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ


EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS