1. ถ้าในตารางกำหนดคลื่นความถี่ตามข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศกำหนดให้กิจการวิทยุสมัครเล่นเป็นกิจการหลัก ประเทศไทยโดยหน่วยงานกำกับดูแลสามารถกำหนดให้กิจการวิทยุสมัครเล่นเป็นกิจการรองหรือไม่กำหนดให้มีกิจการวิทยุสมัครเล่นในความถี่นั้นได้หรือไม่1) ไม่ได้ เพราะประเทศไทยต้องกำหนดตารางกำหนดคลื่นความถี่ให้เป็นไปตามตารางกำหนดคลื่นความถี่ของข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ 2) ได้ เพราะการบริหารจัดการและการกำกับดูแลเป็นเอกสิทธิของแต่ละประเทศ สามารถกำหนดได้ตามความเหมาะสม 3) ไม่ได้ เพราะกิจการวิทยุสมัครเล่นเป็นสากล ต้องเหมือนกันในทุกประเทศ 4) ผิดทุกข้อ
|
2. หากหน้าจอเครื่องวิทยุแสดงความถี่ของสัญญาณเสียงพูดที่ 14.349 MHz ในโหมด USB และเราได้ยินสถานี DX เริ่มเรียก CQ ที่ความถี่ 14.349 MHz USB เราจะสามารถตอบกลับการเรียกนั้นด้วยโหมด USB ที่ความถี่เดียวกันนั้นได้หรือไม่1) ได้ เพราะสถานี DX เป็นผู้เริ่มการติดต่อสื่อสารนั้น 2) ได้ เพราะความถี่หน้าจอเครื่องวิทยุแสดงความถี่อยู่ในย่าน 20 เมตร 3) ไม่ได้ เพราะแถบความถี่ที่เราตอบกลับจะเกินกว่าขอบย่านความถี่ 20 เมตร 4) ไม่ได้ เพราะประเทศไทยไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้งานโหมดเสียงพูดที่ความถี่เกินกว่า 14.340 MHz
|
3. ข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศปัจจุบัน กำหนดให้สัญญาณเรียกขานของสถานีในกิจการวิทยุสมัครเล่นปกติเป็นแบบใด1) ตัวอักษร 1 ตัวและตัวเลข 1 ตัว ตามด้วยกลุ่มตัวอักษรยาวไม่เกิน 4 ตัวและตัวสุดท้ายต้องเป็นตัวอักษร 2) ตัวอักษร 2 ตัวและตัวเลข 1 ตัว ตามด้วยกลุ่มตัวอักษรยาวไม่เกิน 4 ตัวและตัวสุดท้ายต้องเป็นตัวอักษร 3) ในกรณีพิเศษเพื่อการใช้งานชั่วคราว สามารถกำหนดให้กลุ่มอักษรตามมีความยาวเกินกว่า 4ตัวอักษรได้ 4) ถูกทุกข้อ
|
4. ข้อใดคือกำลังส่งสูงสุดที่ได้รับอนุญาตให้ใช้งานในย่าน HF สำหรับพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นสูง1) 200 วัตต์ 2) 500 วัตต์ 3) 1000 วัตต์ 4) 1500 วัตต์
|
5. พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้นมีความประสงค์ใช้งานความถี่ 28 MHz สามารถทำได้หรือไม่1) ได้ โดยสามารถซื้อเครื่องวิทยุที่มีความถี่ 28 MHz มาใช้ได้ทันที 2) ไม่ได้ เพราะพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้นไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้งานความถี่ย่าน HF 3) ได้ โดยใช้ที่สถานี Club station หรือใช้งานโดยมีผู้ดูแลที่เป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลางหรือ ขั้นสูงขึ้นไป 4) ไม่ได้ เพราะต้องมีการทดสอบความรู้เพิ่มเติม
|
ต้องการเฉลยข้อสอบ โปรดเข้าระบบสมาชิก
|
|