แนวสอบ ประวัติศาสตร์ ชุดที่2

แนวสอบ คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 70 หรือ 3.5 ข้อขึ้นไป
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
1. เหตุใดมนุษย์สมัยชุมชนหมู่บ้านเกษตรกรรมจึงมักย้ายถิ่นฐานลงมาอยู่ในที่ราบริมแม่น้ำ
    เพราะเหมาะแก่การเพาะปลูก
    เพราะการคมนาคมสะดวกสบาย
    เพราะความเชื่อเรื่องเทพเจ้าสายน้ำ
    เพราะเหมาะแก่การค้าขาย
2. แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นเดิมของชนชาติไทย แนวคิดใดที่นักประวัติศาสตร์ยอมรับมากที่สุด
    แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน
    แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนกลางของจีน
    แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนใต้ของจีน
    แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะอินโดนีเซีย
3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของชุมชนหมู่บ้านเกษตรกรรม
    เลี้ยวสัตว์ไว้กินเอง
    มีการพัฒนาเทคโนโลยี
    ร่อนเร่หาอาหารตามฤดูกาล
    ร่วมมือกันทำงานสาธารณะ
4. ข้อใดแสดงการพัฒนาของเครื่องมือเครื่องใช้ในสมัยชุมชนหมู่บ้านเกษตรกรรม
    คนในหมู่บ้านมีความสัมพันธ์กัน
    คนในหมู่บ้านไม่ติดต่อกับชุมชนอื่น
    คนในหมู่บ้านไม่มีพัฒนาการทางเทคโนโลยี
    คนในหมู่บ้านไม่มีการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบกับคนในชุมชนอื่น
5. เหตุผลที่นักวิชาการอ้างถึงสาเหตุที่กลุ่มคนไทยต้องอพยพลงมาทางตอนใต้ คือ ข้อใด
    ถูกจีนรุกราน
    หนีภัยธรรมชาติ
    เกิดสงครามในเผ่าพันธุ์
    หนีอากาศหนาวรุนแรง
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ

1. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1


2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน


3. แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล


4. ข้อสอบ บรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอก ปฐมวัย พร้อมเฉลย 50 ข้อ


นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ


EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS