ภาษาไทย ม.2

ภาษาไทย คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 70 หรือ 14 ข้อขึ้นไป
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
1. ข้อใดคือความหมายขององค์ประชุม
    ประธานในการประชุม
    จำนวนผู้เข้าประชุมทั้งหมด
    จำนวนผู้เข้าประชุมตามกำหนดไว้
    ประธาน รองประธาน เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
2. โคลงสี่สุภาพบังคับคำเอกคำโทอย่างไร
    คำเอก ๗ คำโท ๓
    คำเอก ๗ คำโท ๔
    คำเอก ๖ คำโท ๓
    คำเอก ๖ คำโท ๔
3. ข้อใดเรียงลำดับหน่วยประกอบในภาษาถูกต้อง
    พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
    พยางค์ เสียง คำ วลี ประโยค
    เสียง พยางค์ คำ วลี ประโยค
    เสียง คำ พยางค์ วลี ประโยค
4. การลงมติในที่ประชุมวิธีการในข้อใดไม่เหมาะสม
    ยกมือ
    ลุกขึ้นยืน
    ลงคะแนนลับ
    ขานชื่อแล้วกล่าวคำเห็นด้วย / ไม่เห็นด้วย
5. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุที่ทำให้ภาษาเปลี่ยนแปลง
    การเรียนภาษาของเด็ก
    ธรรมชาติของการออกเสียง
    อิทธิพลของภาษาจีน
    ชาติกำเนิด
6. บทหนึ่งของกาพย์ยานีบังคับจำนวนคำในข้อใด
    ๑๖ คำ
    ๒๐ คำ
    ๒๒ คำ
    ๒๘ คำ
7. ข้อใดเป็นคำศัพท์ที่มีความหมายกว้าง
    ปลา
    ปลาตะเพียน
    ปลาช่อน
    ปลาทับทิม
8. ข้อใดใช้คำราชาศัพท์ในประโยคถูกต้อง
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จวัดพระแก้ว
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นครูกีฬาเรือใบ
    กระเป๋าทรงของสมเด็จย่าทำด้วยผ้าฝ้าย
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงผนวชแล้ว
9. คำว่า “พัทธสีมา” หมายถึงข้อใด
    บริเวณวัด
    เขตธรณีสงฆ์
    ประตูวัด
    เขตที่กำหนดไว้สำหรับทำพิธีสงฆ์
10. ข้อใดกล่าวถึงภาษาถิ่นถูกต้อง
    ภาษาถิ่นคือภาษาบ้านนอก
    ภาษาถิ่นคือภาษาสแลง
    ภาษาถิ่นคือภาษาสละสลวย
    ภาษาถิ่นคือภาษาที่ใช้กันเฉพาะกลุ่มชนในท้องถิ่นหนึ่งๆ
11. คำว่า “ฟลุ๊ค” มีหน่วยประกอบของคำที่ถูกต้องในข้อใด
    พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
    พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด
    พยัญชนะ ตัวควบกล้ำ สระ วรรณยุกต์
    พยัญชนะ ตัวควบกล้ำ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด
12. ข้อใดมีความสัมพันธ์ตรงกับคำว่า “บวชพระ”
    อุปสมบท
    บรรพชา
    อุปัชฌาย์
    ไทยทาน
13. ข้อใดคือความหมายโดยอรรถของคำว่า “บุพการี”
    พ่อ แม่
    ปู่ ย่า ตา ยาย
    ผู้ปกครอง
    ผู้มีพระคุณ
14. งิ้วจีนมีลักษณะคล้ายกับการแสดงของไทยในข้อใด
    จำอวด
    ลิเก
    ละคร
    ภาพยนตร์
15. ภาษาที่ไม่มีการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันคือข้อใด
    ภาษาตาย
    ภาษาสแลง
    ภาษาถิ่น
    ภาษาด้อยพัฒนา
16. ข้อใดใช้ภาษาระดับทางการถูกต้อง
    งานแต่งงาน
    โรงหนัง
    ประทับตรา
    ตีตรา
17. “พระเสโท” มีความหมายตรงกับข้อใด
    เลือด
    เหงื่อ
    ขน
    ผิว
18. ข้อใดจัดเป็นคำศัพท์ที่มีความหมายต่างจากพวก
    นารี
    สตรี
    กัลยา
    แข
19. ข้อใดมีความหมาว่า ช้าง ทุกคำ
    ไอยเรศ พลาย
    อาชาไนย วิหค
    ไอศูรย์ คชา
    เอราวัณ ปักษิณ
20. สิ่งที่ควรคำนึงถึงมากที่สุดในการบวชคือข้อใด
    การเตรียมเครื่องอัฐบริขาร
    การสำรวม
    ความพร้อมของผู้บวช
    การทำขวัญนาค
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ

1. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1


2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน


3. แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล


4. ข้อสอบ บรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอก ปฐมวัย พร้อมเฉลย 50 ข้อ


นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ


EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS