หลักการศึกษา บทที่3

หลักการศึกษา คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 70 หรือ 7 ข้อขึ้นไป
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลครั้งละ 10 ข้อ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ Desktop
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลแล้ว 1642 ครั้ง
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 20 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. แผนการพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) มีจุดมุ่งหมายอะไร
    เน้นความเป็นธรรมชาติทางสังคม
    ขยายการศึกษาภาคบังคับ เน้นการผลิตกำลังคนระดับกลาง
    นโยบายการวางแผนครอบครัว และการมีงานทำ
    การกระจายผลการพัฒนาสู่ชนบทอย่างทั่วถึง
2. แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2535 จะเน้นและส่งเสริมการศึกษาสำหรับบุคคลประเภทใด
    คนแก่
    เด็กทารก
    สามเณร
    คนพิการ
3. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503 มีจุดมุ่งหมายอะไร
    ให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษา จัดการศึกษา 3 ส่วน คือ จริยศึกษา พุทธิศึกษา และพลศึกษา
    นโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
    รัฐมีความมุ่งหมายให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษาตามสมควรแก่อัตภาพ
    เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการ
4. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 มีจุดมุ่งหมายอะไร
    ให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษา จัดการศึกษา 3 ส่วน คือ จริยศึกษา พุทธิศึกษา และพลศึกษา
    นโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
    รัฐมีความมุ่งหมายให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษาตามสมควรแก่อัตภาพ
    เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการ
5. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2479 มีจุดมุ่งหมายอะไร
    ให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษา จัดการศึกษา 3 ส่วน คือ จริยศึกษา พุทธิศึกษา และพลศึกษา
    นโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
    ให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษาเพื่อจะได้ทำหน้าที่พลเมืองตามระบอบรัฐธรรมนูญ
    เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการ
6. ลักษณะโครงการศึกษา พ.ศ. 2456 เปลี่ยนชื่อมูลศึกษาเป็นประถมศึกษา การศึกษามี 3 ระดับ คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา และได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ประเภท คือข้อใด
    สามัญศึกษา อุดมศึกษา
    วิสามัญศึกษา มัธยมศึกษา
    สามัญศึกษา วิสามัญศึกษา
    อุดมศึกษา มัธยมศึกษา
7. .”ประถมวิสามัญศึกษา คือ ประถมศึกษาปีที่ 4-5 เมื่อเรียนจบแล้วสามารถเรียนต่อมัธยมวิสามัญได้ แต่ถ้าจะกลับไปเรียนมัธยมสามัญก็ต้องเริ่มเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ใหม่ จึงทาให้ไม่มีผู้สนใจจะเรียนประถมวิสามัญศึกษา” ข้อความข้างต้นคือข้อบกพร่องของโครงการศึกษาชาติฉบับใด
    โครงการศึกษา พ.ศ. 2450
    โครงการศึกษา พ.ศ. 2452
    โครงการศึกษา พ.ศ. 2456
    โครงการศึกษา พ.ศ. 24528
8. ระดับการศึกษาตามแผนการศึกษาชาติปีพ.ศ. 2479 มีกี่ระดับ อะไรบ้าง
    3 ระดับ ได้แก่ อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
    4 ระดับ ได้แก่ อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา
    4 ระดับ ได้แก่ มูลการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา
    5 ระดับ ได้แก่ มูลการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา เตรียมอุดมศึกษา อุดมศึกษา
9. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับใดเริ่มมีความก้าวหน้าของวิทยาการและระบบการสื่อสาร
    แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่7
    แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง
    แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2535
    แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520
10. .”คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ เป็นคนดี มีความสุข มีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันในเวทีโลก” เป็นวิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับใด
    แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 7
    แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 8
    แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 10
    แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ

EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS