กลอนสุภาพ

กลอนสุภาพ,ที่มา คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 70 หรือ 7 ข้อขึ้นไป
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลแล้ว 2341 ครั้ง
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 10 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. เสียงวรรณยุกต์ที่บังคับในคำสุดท้ายในแต่ละวรรคข้อใด ?ไม่ถูกต้อง
    คำสุดท้ายวรรคที่ 1 ไม่นิยมเสียงสามัญ
    คำสุดท้ายวรรคที่ 2 ไม่นิยมเสียงจัตวา
    คำสุดท้ายวรรคที่ 3 ไม่นิยมเสียงจัตวา
    คำสุดท้ายวรรคที่ 4 นิยมเสียงสามัญ
2. คำใดเป็นคำขึ้นต้นของกลอนบทละคร
    มาจะกล่าวบทไป
    ครานั้น
    สักวา
    ครั้งนั้น
3. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะกลอนสุภาพได้ถูกต้อง
    กลอนเป็นร้อยกรองประเภทบังคับคณะ สัมผัส และเสียงวรรณยุกต์
    กลอนเป็นร้อยกรองที่แต่งไม่ยากแต่คนไทยไม่ค่อยนิยม
    กลอนมีหลายประเภทแต่ชื่อเรียกมีเพียงชื่อเดียว
    กลอนมีคำในแต่ละวรรคมีจำนวนตั้งแต่ 5-8 คำ
4. ลักษณะบังคับของกลอนสุภาพข้อใด ไม่ถูกต้อง
    คณะบทหนึ่ง มี? 2 คำกลอน หรือ 4 วรรค
    กลอนเรื่องหนึ่งมีความยาว ประมาณ 5-6 บท
    กลอนสุภาพมีความยาวเท่าใดก็ได้แต่ต้องจบลงด้วยวรรครองเท่านั้น
    กลอนแต่ละวรรคมีชื่อเรียกต่างกันวรรคสดับ วรรครับ วรรครอง และวรรคส่ง
5. ข้อใด ไม่ใช่ข้อบังคับฉันทลักษณ์ของกลอน
    สัมผัสนอกเป็นสัมผัสระหว่างวรรค
    สัมผัสในเป็นสัมผัสอยู่ภายในวรรค
    สัมผัสเชื่อมระหว่างบทกำหนด 1 แห่ง
    คำท้ายวรรคหน้าสัมผัสกับคำที่ 3 หรือ 4 ของวรรคหลัง
6. วรรณคดีเรื่องใด ไม่ใช้คำประพันธ์ประเภทกลอน
    รามเกียรติ์? อิเหนา
    ขุนช้างขุนแผน?? พระอภัยมณี
    นิราศสุพรรณ? สุภาษิตพระร่วง
    โคบุตร? นิราศภูเขาทอง
7. คำประพันธ์ประเภทกลอน ปรากฏครั้งแรกคือเรื่องใด
    สุภาษิตพระร่วง
    เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา
    ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ
    นันโทปนันทสูตรคำหลวง
8. กลอนสุภาพหรือกลอนแปด แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
    2 ประเภท คือ กลอนตลาด และกลอนเสภา
    2 ประเภท คือ กลอนขับร้อง และกลอนเพลง
    2 ประเภท คือ กลอนสักวา และกลอนดอกสร้อย
    2 ประเภท คือ กลอนนิทาน และกลอนเพลงยาว
9. ข้อใด ?ไม่มีคำที่สัมผัสกัน
    ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก
    เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ
    เมืองประมง ดงโรงงาน ลานเกษตร เขตประวัติศาสตร์
    เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม
10. กลอนใดที่ไม่ลงท้ายด้วย ?เอย?
    กลอนสักวา
    กลอนสด
    กลอนเพลงยาว
    กลอนบทละคร
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ

EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS