ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์,ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์, คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 90 หรือ 9 ข้อขึ้นไป
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลครั้งละ 10 ข้อ บนเครื่องคอมพิวเตอร์สมาชิก
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลแล้ว 222 ครั้ง
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 20 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายนอก
    การวิเคราะห์เนื้อหาที่บันทึก
    ข้อมูลที่บันทึกว่าเป็นกลางหรือไม่
    การนำเสนอข้อมูลมีการบิดเบือนหรือไม่
    ความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้บันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดที่เป็นหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรขั้นปฐมภูมิ
    โบสถ์ วิหาร เจดีย์ หลุมฝังศพ อาวุธ
    พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
    บทวิจารณ์เหตุการณ์
    หนังสือ ตำรา งานวิจัย รายงาน
3. หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรทำให้นักเรียนสามารถสะท้อนข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ได้อย่างไร
    ทำให้รู้จักการตีความทางประวัติศาสตร์
    ทำให้ทราบว่าหลักฐานมีความน่าเชื่อถือหรือไม่
    ทำให้ทราบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในยุคต่างๆ
    ทำให้ทราบว่าผู้บันทึกนั้นมีความเป็นกลางหรือไม่
4. เพราะเหตุใด หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรของประเทศไทย จึงมีจำนวนไม่มากนัก
    เกิดการสูญหาย
    หลักฐานได้รับความเสียหาย
    คนไทยไม่ชอบจดบันทึก
    ถูกลักลอบนำออกไปขายในต่างประเทศ
5. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดเป็นหลักฐานขั้นปฐมภูมิทั้งหมด
    พงศาวดาร ศิลาจารึก กฎหมายตราสามดวง ปูมโหร
    จดหมายเหตุ อัตชีวประวัติ วารสาร ภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์
    โบราณวัตถุ ตำราประวัติศาสตร์ ข่าวจากหนังสือพิมพ์
    โบราณคดี วรรณคดี ตำรา งานวิจัย รายงาน บทความทางด้านประวัติศาสตร์
6. หากต้องการทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทย - จีน ในยุคจักรพรรดิเฉียนหลง ควรวิเคราะห์จากสิ่งใด
    เอกสารสมัยสุโขทัย
    เอกสารสมัยอยุธยา
    เอกสารสมัยธนบุรี
    เอกสารสมัยรัตนโกสินทร์
7. ลักษณะของนักประวัติศาสตร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
    มีการทดลองศึกษาเพียงครั้งเดียว
    ใช้สำนวนการบันทึกแบบโวหาร
    มีความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต
    ผลสรุปที่ได้จากการค้นคว้าถือว่าเป็นความจริงที่ใครโต้แย้งไม่ได้
8. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดที่เป็นหลักฐานขั้นทุติยภูมิ
    โบสถ์ วิหาร เจดีย์
    เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องประดับ
    พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)
    หนังสือ ตำรา งานวิจัย รายงาน วารสาร วรรณคดี ข้อมูลประเภทบอกเล่าที่เล่าต่อๆ กันมา และภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์
9. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ช้างเผือก (ตามฉบับหลวงประเสริฐฯ) ว่าเมื่อปีเถาะ จุลศักราช ๘๓๓ เป็นช้างเผือกตัวแรกที่ปรากฎว่าได้ในครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี...จากข้อความนี้ สามารถตีความข้อมูลได้ว่าอย่างไร
    ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงได้ช้างเผือกตัวแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๔ นับตั้งแต่ตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
    พ.ศ. ๒๐๑๔ เป็นปีที่ช้างเผือกตัวแรกปรากฎนับตั้งแต่ตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
    เมื่อครั้งตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในพ.ศ. ๒๐๑๔ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงได้ช้างเผือกตัวแรก
    ช้างเผือกตัวแรกได้เมื่อครั้งตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ต่อมาในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงได้ช้างเผือกอีกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๔
10. การจะยอมรับในเหตุการณ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพว่ามีอยู่จริงหรือไม่ ต้องยอมรับการยืนยันจากหลักฐานสำคัญชนิดใด
    วรรณคดี
    หนังสือพิมพ์
    พระราชพงศาวดาร
    บทความทางด้านประวัติศาสตร์
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ

EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS