วิชาสังคมศึกษาม.1 ชุดที่33

วิชาสังคมศึกษาม.1 คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 70 หรือ 7 ข้อขึ้นไป
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลแล้ว 2399 ครั้ง
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 20 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. การแต่งกายชุดอ๋าวได๋เป็นชุดประชำชาติของประเทศใด
    มาเลเซีย
    สิงคโปร์
    เวียดนาม
    อินโดนีเซีย
2. “ในวัยลอยกระทง ชาวไทยจะชวนกันไปลอยกระทงตามแม่น้ำลำคลอง” ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับความสำคัญของวัฒนธรรมอย่างไร
    ก่อให้เกิดความกตัญญู
    ตอบสนองความต้องการของมนุษย์
    ก่อให้เกิดความเป็นระเบียบของสังคม
    ก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
3. ประเพณีวัฒนธรรมในข้อใดแตกต่างจากกลุ่ม
    ประเพณีการทำขวัญข้าว
    ประเพณีลอยกระทง
    ประเพณีการลงแขกเกี่ยวข้าว
    ประเพณีเข้าพรรษา
4. วัฒนธรรมในข้อใดที่อาจนำมาซึ่งความเข้าใจผิดต่อกันได้มากที่สุด
    วัตถุธรรม
    เนติธรรม
    วัฒนธรรมเดียวกับวิถีปฏิบัติ
    ขนบธรรมเนียมประเพณี
5. “หลังจากเสร็จฤดูเก็บเกี่ยว คนไทยมักจะมีการละเล่นพื้นบ้าน เช่น เพลงเรือ เพลงฉ่อย เพลงอีแซว เป็นต้น” ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับลักษณะวัฒนธรรมไทยในข้อใด
    เป็นวัฒนธรรมแบบเกษตรกรรม
    เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือเครือญาติ
    เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือพิธีกรรม
    เป็นวัฒนธรรมที่นิยมความสนุกสนาน
6. ประเทศเพื่อนบ้านในข้อใดมีพื้นฐานวัฒนธรรมมาจากศาสนาเดียวกัน
    ไทย ลาว บรูไน
    สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไน
    มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย
    พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย
7. “การกระทำที่สมาชิกในสังคมนิยมนับถือ และถือประพฤติปฎิบัติสืบต่อกันมา ถ้าสมาชิกคนใดไม่ประพฤติปฏิบัติตามจะถูกติเตียน เหยียดหยามจากสังคม” ข้อความข้างต้นหมายถึงข้อใด
    คติธรรม
    เนติธรรม
    วัฒนธรรมเดียวกับวิถีปฏิบัติ
    ขนบธรรมเนียมประเพณี
8. ประเทศเพื่อนบ้านที่ได้รับวัฒนธรรมส่วนใหญ่จากอินเดียและนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติเหมือนกับไทย ได้แก่ข้อใด
    พม่า ลาว กัมพูชา
    พม่า มาเลเซีย ลาว
    พม่า เวียดนาม ลาว
    เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย
9. วัฒนธรรมทางภาษาในข้อใด อาจนำมาซึ่งความเข้าใจผิดต่อกันได้มากที่สุด
    วัจนภาษา
    อวัจนภาษา
    ภาษาพูด
    ภาษาเขียน
10. “การแต่งงานของคนไทยต้องมีการแห่ขันหมาก การสู่ขอ การรดน้ำอวยพรคู่บ่าวสาว และมีงานเลี้ยงฉลองสมรส” ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับลักษณะวัฒนธรรมไทยในข้อใด
    เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือเครือญาติ
    เป็นวัฒนธรรมที่ยึดพิธีกรรม
    เป็นวัฒนธรรมที่นิยมความสนุกสนาน
    เป็นวัฒนธรรมที่ทำให้เกิดระเบียบเรียบร้อยมีขั้นตอน
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ

EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS